STEP 0: Identify and awareness the problems -> Determine the prerequisites for problem resolution. Provide contingency plan to relevant parties such as Customer, Supplier, Internal Team and etc.
ขั้นตอนที่ 0: ระบุและรับทราบตระหนักถึงปัญหา -> กำหนดสิ่งที่จำเป็นต้องเตรียมในการแก้ไขปัญหา และกำหนดมาตรการณ์ฉุกเฉิน เพื่อส่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ เช่น Customer, Supplier, Internal Team และ อื่นๆ
STEP 1: Use a Team Approach -> Establish a team of people should have sufficient with the product/process knowledge and many disciplines (Cross Functional Team e.g. Engineering, Quality, Die, Maintenance, Production and etc). Cross Functional Team should be provide new perspectives and different ideas when it comes to problem solving.
ขั้นตอนที่ 1: การจัดสร้างทีม -> สร้างทีมงานของคนที่ควรมีเพียงพอกับความรู้ผลิตภัณฑ์ / กระบวนการและสาขาวิชา (Cross Functional Team e.g. Engineering, Quality, Die, Maintenance, Production and etc). Cross Functional Team ควรที่จะให้มุมมองใหม่ๆ และแนวคิดที่แตกต่างกันในด้านที่ตนเองถนัด เมื่อต้องร่วมกันแก้ไขปัญหา
STEP 2: Describe the Problem -> The team should collect details of the problem based on 5W2H (Who, What, Where, When, Why, How, and How many) or other technique such as Standard requirements, Deviations, Lot No., Date, Time, Quantity and etc.
ขั้นตอนที่ 2: อธิบายปัญหา -> ทีมงานควรรวบรวมรายละเอียดของปัญหาที่เกิดขึ้น โดยใช้เทคนิคหรือเครื่องมือต่างๆ ควรจะอยู่ในหลักการของ 5W2H (Who, What, Where, When, Why, How, and How many) ต้องมีข้อมูลให้มากที่สุด เช่น มาตรฐานความต้องการ, ค่าความแตกต่างจากความต้องการ, วันที่, เวลา, จำนวน และ ข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
STEP 3: Implement and Verify Interim Containment Actions -> Define and implement containment actions to isolate the problem from any customer. 100% sorting all parts separate OK and NG (Internal, In transit and Customer) then focus to the NG lot to prevent the problem from reaching the market and customers.
ขั้นตอนที่ 3: ดำเนินการและปฏิบัติการกักกันปัญหาชั่วคราว -> กำหนดและดำเนินการคัดแยกปัญหาต่าง เพื่อป้องกันปัญหาของลูกค้าต่าง ทำการตรวจสอบและแยกงาน 100% ทั้งหมดที่มี ทั้งที่ภายในโรงงาน ระหว่างการจัดส่ง และที่โรงงานของลูกค้าด้วย จากนั้นก็ทำการ กำหนดเป้าหมายของงาน NG เพื่อที่จะทำให้ไม่หลุดไปหาลูกค้าได้
STEP 4: Determine and Verify Root Causes and Escape Points -> Identify all applicable causes and verify all the caused go through data collection by following techniques can be used to analyze the causes e.g. Ishikawa Diagram, 5 Why analysis, “Is” and “Is Not”, FTA or etc. Review process flow chat for location of the root cause and determine escape point.
ขั้นตอนที่ 4: ดำเนินการและปฏิบัติการกักกันปัญหาชั่วคราว -> ระบุสาเหตุที่เกี่ยวข้องทั้งหมด และทำการตรวจสอบสาเหตุทั้งหมด เจาะลึกตามข้อมูลที่มีทั้งหมด โดยวิธีการทางเทคนิคต่างๆ เช่น Ishikawa Diagram, 5 Why analysis, “Is” and “Is Not”, FTA หรือ อื่นๆ และทำการตรวจสอบสาเหตุต่างๆ ตาม Process Flow Chart เพื่อกำหนดจุดที่มีปัญหาและสกัดกั้นจุดบกพร่องทั้งหมดที่ทำให้เกิดปัญหา
STEP 5: Formulate Corrective Actions Plan -> The team should formulate corrective actions plan that can eliminate the root causes by Brain Storming, Affinity Diagram, FMEA or etc. Based on risk assessment to make a balanced for corrective actions plan. Verification of Effectiveness for corrective actions plan and the escape point are required.
ขั้นตอนที่ 5: กำหนดแผนปฏิบัติการแก้ไข -> ทีมงานควรทำการกำหนดแผนปฏิบัติการเพื่อที่จะสามารถแก้ไขและกำจัดสาเหตุของปัญหาที่แท้จริงได้ โดยใช้เทคนิคช่วยในการประเมิน เช่น Brain Storming, Affinity Diagram, FMEA or etc. อ้งอิงจากผลการประเมินความเสี่ยง เพื่อสร้างความสมดุลและเหมาะสมที่สุดสำหรับแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหา และต้องทำการการตรวจสอบประสิทธิ ผล สำหรับแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาและจุดบกพร่องต่างๆที่เกี่ยวกับปัญหาในทุกๆจุด
STEP 6: Implement and Validate Corrective Action Plan -> The team should implement and validate the best corrective action plan with evidence of improvement. The solution approach from STEP 4 - 6 should be repeated until the problems is completely eliminated.
ขั้นตอนที่ 6: ดำเนินการและตรวจสอบแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหา -> ทีมงานควรดำเนินการและตรวจสอบแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุดสำ หรับปัญหาที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเก็บหลักฐานการปรับปรุง วิธีการแก้ปัญหาจาก ขั้นตอนที่ 4 ถึง 6 ควรที่จะทำซ้ำๆ ไปจนกว่าปัญหาจะหมดไปอย่างถาวร
STEP 7: Prevent Recurrence of the Problems -> The team should preserve and share the knowledge, preventing problems on similar products, processes, locations or families. Updating Documents and Procedures, Control Plan, Work Instructions, Lessons Learned and other relevant documents to improve in the future.
ขั้นตอนที่ 7: การป้องกันการเกิดซ้ำของปัญหา -> ทีมงานต้องทำการรักษาและแบ่งปันข้อมูลความรู้ เพื่อป้องกันปัญหามีลักษณะคล้ายๆกัน หรือเกี่ยวข้องกัน กับผลิตภัณฑ์ กระบวนการ สถานที่ หรือ ชิ้นงานที่ใกลที่คล้ายคลึงกัน ต้องทำการแก้ไขเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น Procedures, Control Plan, Work Instructions, Lessons Learned และ เอกสารอื่นๆทั้งหมด เพื่อทำการป้องกันและปรับปรุงในอนาคต
STEP 8: Closure and Congratulate to the Team -> The team should conclude all the thing e.g. activity, cost and technical problem solving. Recognize the collective efforts of the team. The team needs to be formally thanked by the organization.
ขั้นตอนที่ 8: ทำการปิดปัญหาและสรุปและฉลองร่วมกับทีมงาน -> ทีมงานต้องทำการสรุปทุกสิ่งที่เกี่ยวข้อง เช่น กิจกรรม ค่าใช้จ่าย และเทคนิคต่างๆ ที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา ตระหนักถึงความพยายามร่วมกันของทีมงาน ทีมงานจะต้องได้รับการขอบคุณอย่างเป็นทางการจากองค์กร
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น